บทออกบ่อย MWIT
ข้อสอบมหิดลฯ จะเน้นโจทย์ที่ใช้ความเข้าใจ ไม่เน้นคำนวนยากๆ
- ไฟฟ้า
- แสงและทัศนอุปกรณ์
- นิวตัน
- ความร้อน
- ของเหลวและของไหล
ตัวอย่าง ข้อสอบ ฟิสิกส์ ม.ต้น โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ข้อ1 (ปี 62) เมื่อปรับความต่างศักย์ในวงจรดังรูป แอมมิตอร์จะอ่านค่ากระแสได้ดังกราฟ
1. 1/5
2. 1
3. 6/5
4. 3
5. 4
ตอบ ข้อ 4
ข้อ2 (ปี 63) ยิงแสงเลเชอร์ตั้งฉากกับผิวของปริซึม ดังรูป แสงที่ออกจากปริซึมจะเป็นแสงตามเส้นใด
1. A
2. B
3. C
4. D
5. E
ตอบ ข้อ 5
ข้อ3 (ปี 63) นักเรียนออกแรงรีดเสื้อ โดยออกแรงกตเตารีด F ด้วยมุม θ กับแนวราบ ดังรูป ทำให้เตารีดเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ v ถ้านักเรียนคนนี้ปรับมุม θ ที่ใช้ในการกดเตารีต นักเรียนคนนี้ควรทำอย่างไร เพื่อให้เตารีดเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v เท่าเดิม (กำหนด สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ระหว่างเตารีดและผ้ามีค่าน้อยกว่า 1)
1. ถ้าเพิ่ม θ เขาจะต้องออกแรง F เพิ่มขึ้น เพราะแรงเสียดทานมีขนาดเพิ่มขึ้น
2. ถ้าเพิ่ม θ เขาจะต้องออกแรง F เพิ่มขึ้น เพราะแรงเสียดทานมีขนาดลดลง
3. ถ้าเพิ่ม θ เขาจะต้องออกแรง F ลดลง เพราะแรงเสียดทานมีขนาดลดลง
4. ถ้าเพิ่ม θ เขาจะต้องออกแรง F ลดลง เพราะแรงเสียดทานมีขนาดเพิ่มขึ้น
5. ถ้าเพิ่ม θ เขาจะต้องออกแรง F เพิ่มขึ้น เพราะแรงเสียดทานมีขนาดเท่าเดิม
ตอบ ข้อ 3
ข้อ4 (ปี 62) Coefficient of Performance (COP) คือ ค่าที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพในการทำความเย็นของอุปกรณ์ โดยคำนวณจาก COP = Q/W
เมื่อ Q คือ ปริมาณความร้อนที่อุปกรณ์สามารถดึงออกจากระบบ
และ W คือ งานที่อุปกรณ์ใช้ในการดึงความร้อนออกจากระบบ
ตู้เย็นเครื่องหนึ่งมีกำลังไฟ 200 วัตต์ และมีค่า COP เท่ากับ 0.8 ตู้เย็นเครื่องนี้จะใช้เวลาเท่าใดในการแช่น้ำ 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเชลเชียส ให้กลายเป็นน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0 องศาเชลเชียส
(กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ 4.2 จูลต่อกรัม•เคลวิน ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำมีค่าเท่ากับ 300 จูลต่อกรัม)
1. 2 นาที
2. 4 นาที
3. 6 นาที
4. 8 นาที
5. 10 นาที
ตอบ ข้อ 1
ข้อ5 (ปี 61) ถ้าทิ้งวัตถุมวลเท่ากันและรูปร่างเหมือนกันลงในของเหลว 2 ชนิด (ของเหลว A และ B) วัตถุจมลงไปตามภาพ โดย h1 > h2 ข้อใดถูกต้อง
1. เมื่อนำของเหลว A และ B มาในปริมาตรเท่ากัน A จะมีมวลน้อยกว่า B
2. ความดันที่ก้นภาชนะ มีค่าเท่ากัน
3. ถ้าออกแรงกดลงบนวัตถุ 2 ชิ้น เท่ากันจะทำให้วัตถุทั้งสองจมลงมิดพอดี
4. แรงลอยตัวของของเหลว A และ B ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากัน
5. ของเหลว A มีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลว B
ตอบ ข้อ 3
บทออกบ่อย เตรียมอุดมฯ
ข้อสอบเตรียมอุดมฯ เน้นคำนวณ ต้องใช้ทักษะการทำโจทย์สูง
- พลังงาน และเครื่องกล
- แสง
- ไฟฟ้า
- การเคลื่อนที่แนวตรง
- นิวตัน
ตัวอย่าง ข้อสอบ ฟิสิกส์ ม.ต้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ข้อ1 พื้นเอียงมีความยาว 5 เมตร มีความได้เปรียบเชิงกลเป็น 2.5 ในการผลักวัตถุขึ้นพื้นเอียงพบว่ามีประสิทธิภาพ 80% หากตันวัตถุมวล 6 กิโลกรัม ขึ้นไป ต้องไช้งานเท่าใตในการยกกล่องขึ้นพื้นเอียง
1. 1500 จูล
2. 1200 จูล
3. 960 จูล
4. 150 จูล
ตอบ ข้อ 4
ข้อ2 ฉายหลอดไฟผ่านตัวกลาง 3 ตัวคือวัตถุโปร่งใส ของเหลวใส และอากาศ จงหาค่าประมาณ cos θ เมื่อแสงไม่หักเหออกอากาศเนื่องจากเกิดมุมวิกฤตเกิดขึ้น (กำหนตให้ดรรชนีหักเหของอากาศคือ 1 ดรรชนี้หักเหของวัตถุโปร่งใสคือ 2)
1. 0.9
2. 0.8
3. 0.7
4. 0.5
ตอบ ข้อ 4
ข้อ3 จากภาพวงจรไฟฟ้า ก่อนสับสวิตข์กระแสไฟฟ้าที่แอมมิเตอร์อ่านค่าได้ คือ 3 แอมแปร์ หลังสับสวิตข์ แอมมิเตอร์จะอ่านค่าไต้เท่าใด โดยความต้านทานภายในของแบตตอรี่เท่ากับ 0
1. 2.5 A
2. 3 A
3. 4.5 A
4. 5 A
ตอบ ข้อ 3
ข้อ4 รถ A กับ B ห่างกัน 1 km วิ่งทิศสวนทางกัน A มีความเร็วต้น 20 m/s และ B มีความเร็วต้น 30 m/s ทั้งสองเริ่มเหยียบเบรกหลังเวลาผ่านไปแล้ว 10 วินาที ถ้าจะเบรกให้รถ A, B แตะกันพอดี โดยไม่เกิดแรงปะทะ A, B จะต้องเคลื่อนที่อย่างไร
1. A ความเร็วลดลงวินาทีละ 1 m/s, B ความเร็วลดลงวินาทีละ 1.5 m/s
2. A ความเร็วลดลงวินาทีละ 1.5 m/s, B ความเร็วลดลงวินาทีละ 1 m/s
3. A ความเร็วลดลงวินาทีละ 2 m/s, B ความเร็วลดลงวินาทีละ 3 m/s
4. A ความเร็วลดลงวินาทีละ 3 m/s, B ความเร็วลดลงวินาทีละ 2 m/s
ตอบ ข้อ 1
ข้อ5 วางวัตถุที่มีมวล 3 กิโลกรัม บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตเท่ากับ 0.4 และสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์เท่ากับ 0.2 ถ้าออกแรงผลักวัตถุนี้ต้วยแรง 3 นิวตัน แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่าใด
1. 3 นิวตัน
2. 6 นิวตัน
3. 9 นิวตัน
4. 12 นิวตัน
ตอบ ข้อ 1
ปิดเทอม 2 | เปิดเทอม 1 | ปิดเทอม 1 | เปิดเทอม 2 | ||||||||||
ระดับชั้น | วิชา | มี.ค.-64 | เม.ย.-64 | พ.ค.-64 | มิ.ย.-64 | ก.ค.-64 | ส.ค.-64 | ก.ย.-64 | ต.ค.-64 | พ.ย.-64 | ธ.ค.-64 | ม.ค.-65 | ก.พ.-65 |
ม.1 | ฟิสิกส์ | 1183 Pack 1 กลศาสตร์และคลื่น | |||||||||||
ม.2 | ฟิสิกส์ | 1184 Pack 2 สมบัติสาร, ไฟฟ้าฯ, ดาราศาสตร์ และธรณีวิทยา | |||||||||||
ม.3 | ฟิสิกส์ | 1107 ติวเข้มฟิสิกส์ เข้ามหิดลฯ และจุฬาภรณฯ | 1113 UpSkill ตะลุยโจทย์ฟิสิกส์เข้ามหิดลฯ และจุฬาภรณฯ | 1106 ติวเข้มฟิสิกส์ เข้าเตรียมอุดมฯ | 1112 UpSkill ตะลุยโจทย์ฟิสิกส์เข้าเตรียมอุดมฯ | ทบทวน |
ปิดเทอม 2 | เปิดเทอม 1 | ปิดเทอม 1 | เปิดเทอม 2 | ||||||||||
ระดับชั้น | วิชา | มี.ค.-64 | เม.ย.-64 | พ.ค.-64 | มิ.ย.-64 | ก.ค.-64 | ส.ค.-64 | ก.ย.-64 | ต.ค.-64 | พ.ย.-64 | ธ.ค.-64 | ม.ค.-65 | ก.พ.-65 |
ม.4 | ฟิสิกส์ | 0281 Pack กลศาสตร์1 | 0282 Pack กลศาตร์ 2 | 0284 Pack ซิมเปิลฮาร์โมนิกและกลุ่มคลื่น | |||||||||
ม.5 | ฟิสิกส์ | 0285 Pack สมบัติสาร | 0286 Pack ไฟฟ้า | 1399 Pack Physics V-Series TCAS | |||||||||
ม.6 | ฟิสิกส์ | 1399 Pack Physics V-Series TCAS | 1308 V-Series TCAS ตะลุยโจทย์ / 0374 Upskill ฟิสิกส์สามัญ / 9305 PAT 2 TCAS ดาราศาสตร์ และธรณีวิทยา |