สรุปเนื้อหา พหุนามและการแยกตัวประกอบ ม.2

💡 พหุนามและการแยกตัวประกอบ คณิตศาสตร์ ม.ต้น ม.2 เทอม 1

00:0004:47 การแยกตัวประกอบ ทักษะที่ 1
04:4708:57 ทักษะที่ 2
08:5722:35 ทักษะที่ 3
22:3523:29 ทักษะที่ 4
23:2924:59 ทักษะที่ 5
24:5938:18 ทักษะที่ 6
38:1839:52 ทักษะที่ 7
39:5244:21 โจทย์ระคน

🎁 สำหรับลูกค้าใหม่ เรียนกับออนดีมานด์ ได้มากกว่า
🔖 มากกว่าด้วย Welcome Pack รับส่วนลดทันที 300 บาท เพียงกรอกโค้ด : NEW300


🖋️ คอร์ส 8105 พหุนามและการแยกตัวประกอบ
✨ โปรโมชั่นสุดพิเศษนี้ มีถึงวันที่ 31 พฤษภาคมนี้เท่านั้น
📊 สรุปเรื่องการแยกตัวประกอบ
📈 สอนโดย พี่ป่าน ออนดีมานด์
📈 มคธ ทิพย์ชัยเชษฐา
🏆 ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🏆 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🏆 สอบแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ เช่น สอวน. สสวท. สมาคมคณิตศาสตร์ สพฐ. IJSO
🅰️ เทคนิค “A-Point” ช่วยจัดลำดับความคิดได้ ทำให้น้องจำได้นานขึ้น
🅰️ เข้าใจพื้นฐานแน่น เพื่อทำโจทย์ได้ทุกแนว ทุกสนามสอบ

#การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง #การแยกตัวประกอบของพหุนาม #การแยกตัวประกอบของพหุนามม2 #โจทย์การแยกตัวประกอบของพหุนาม #การแยกตัวประกอบของพหุนามม2พร้อมเฉลย #สูตรแยกตัวประกอบพหุนาม #การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจงpdf #แยกตัวประกอบพหุนามดีกรี4 #แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบพหุนามม2

การแยกตัวประกอบของพหุนาม

การแยกตัวประกอบพหุนาม (Polynomial factorization) คือ การเขียนพหุนามในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่า ตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป หรือเขียนพหุนามในรูปที่ง่ายกว่า
แบ่งออกเป็น 7 ทักษะดังนี้
 
ทักษะที่ 1 การจัดกลุ่ม และการดึงตัวร่วม
หลักการ หาตัวประกอบร่วมของทุกพจน์ แล้วดึงออกมาเขียนในรูปผลคูณ 
เช่น a+ab+da^2 = a(1+b+da) 
ทักษะที่ 2 การจับคู่ดึงตัวร่วม
หลักการ จับคู่พจน์ของพหุนาม แล้วดึงชั้นแรกก่อน จึงสามารถดึงต่อได้ในขั้นถัดไป (ดึงหลายชั้น)
เช่น  ab-ad+cb-cd = a(b-d)+c(b-d)
                                = (a-c)(b-d)
หรือ  ab-ad+cb-cd = b(a-c)-d(a-c)
                                = (b-d)(a-c)
ทักษะที่ 3 แยกสองวงเล็บ เมื่อพหุนามอยู่ในรูป  Ax^2+Bx+C
หลักการ เป็นการย้อนทางกลับ ผลคูณของพหุนามดีกรี 1 สองวงเล็บ
เช่น เรารู้ว่า  (x+3)(x+2) = x^2 +3x +2x +6 = x^2+5x+6
ถ้าแยกตัวประกอบของ x^2+5x+6 จะได้ (x+3)(x+2)
การแยกสองวงเล็บ ไม่จำเป็นต้องให้ดีกรีสูงสุดเป็น 2 เสมอไป แค่ให้เลขชี้กำลังของพจน์ที่มีดีกรีสูงสุดเป็นสองเท่าของพจน์ที่มีดีกรีรองลงมา
แบบที่ 1 : สัมประสิทธิ์ของ x^2 เป็น 1
หลักการ พิจารณาตัวประกอบของพจน์ที่เป็นค่าคงที่
เลือกตัวประกอบคู่ที่บวกกันแล้วได้สัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ xมีดีกรี 1 (พจน์กลาง)
เช่น x^2-5x+6
แยกตัวประกอบของ 6 คือ (2)(3), (6)(1), (-2)(-3), (-6)(-1)
สัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง คือ -5 ซึ่งมีค่าเท่ากับ (-2)+(-3) = -5
ดังนั้น x^2-5x+6 =(x-2)(x-3)
แบบที่ 2 : สัมประสิทธิ์ของ x^2 (พจน์ที่มีดีกรีสูงสุด) ไม่ใช่ 1
หลักการ ต้องพิจารณาตัวประกอบของพจน์ที่มีดีกรีสูงสุดด้วย
พจน์กลาง = (ใกล้)(ใกล้)+(ไกล)(ไกล)
เช่น 3A^2+5A-2
แยกตัวประกอบของ -2 คือ (-2)(1) หรือ (2)(-1)
แยกตัวประกอบของ  3A^2 คือ  (3A)(A) หรือ  (-3A)-(A)
ใช้  (3A)(A) กับ (2)(-1)
จะได้  (3A+2)(A-1)  
ทักษะที่ 4 กำลังสองสมบูรณ์
หลักการ วิธีทำแบบเดียวกับแยก 2 วงเล็บ คือเมื่อแยก 2 วงเล็บแล้ว ได้ทั้งสองวงเล็บเหมือนกัน
(A\pm B)^2 = A^2\pm 2AB+B^2

ทักษะที่ 5 ผลต่างกำลังสอง
หลักการ  A^2-B^2 = (A-B)(A+B)

ทักษะที่ 6 ใช้กำลังสองสมบูรณ์ร่วมกับผลต่างกำลังสองช่วยในการจัดรูป
แบบที่ 1 เพิ่มลดพจน์ท้าย
ตัวอย่างที่ 1 x^2+6x+3
สังเกตที่พจน์กลาง \frac{6x}{2}=3 แสดงว่าพจน์ท้ายเป็น 3^2 = 9
จะจัดรูปเป็นกำลังสองสมบูรณ์ได้เมื่อ x^2+6x+9 = (x+3)^2
จาก x^2+6x+3 = x^2+6x+3+9-9
                        =(x+3)^2+3-9
                      =(x+3)^2-(\sqrt{6})^2
                      =(x+3+\sqrt{6})(x+3-\sqrt{6})
ตัวอย่างที่ 2 2x^2+5x-4
จะยังไม่สังเกตพจน์กลางทันที แต่ทำให้สัมประสิทธิ์หน้า x^2 เป็น 1 ก่อน โดยการดึงตัวร่วมจะได้
2x^2+5x-4 =2(x^2+\frac{5x}{2}-2)
                  =2(x^2+\frac{5x}{2}+\frac{25}{16}-\frac{25}{16}-2)
                  =2[(x+\frac{5}{4})^2-\frac{25}{16}-2]
                  =2[(x+\frac{5}{4})^2-\frac{25}{16}-\frac{32}{16}]
                  =2[(x+\frac{5}{4})^2-\frac{57}{16}]
                  =2(x+\frac{5}{4}-(\sqrt{\frac{57}{16}}))(x+\frac{5}{4}+(\sqrt{\frac{57}{16}}))
แบบที่ 2 เพิ่มลดพจน์กลาง
ตัวอย่าง x^2+4
จะได้ x^2+4  = x^2+4+4x-4x
                    = (x+2)^2-4x
                    = (x+2)^2-(\sqrt{4x})^2
          = (x+2-\sqrt{4x})(x+2+\sqrt{4x})
 
ทักษะที่ 7 ผลบวก และผลต่างกำลังสาม
หลักการ (A+B)^3 = (A+B)(A^2-AB+B^2)
    (A-B)^3 = (A-B)(A^2+AB+B^2)
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
00
วัน
00
ชั่วโมง

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ