วิศวะ โยธา เรียนไปทำงานอะไรได้บ้าง

วิศวะ โยธา

บทความนี้นำเสนอข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการศึกษาและอาชีพในสาขาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) รวมถึงแนวทางการเตรียมตัวสำหรับการสอบเข้าศึกษาต่อในสาขานี้ ตั้งแต่การเข้าใจหลักสูตรการเรียนรู้ที่จำเป็น ไปจนถึงวิธีการเตรียมตัวสอบอย่างมีประสิทธิภาพ เราจะพูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหาที่มักจะพบในข้อสอบ เทคนิคการทำข้อสอบ และทรัพยากรที่สามารถช่วยให้ผู้สมัครมีความพร้อมมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีคำแนะนำจากนักศึกษาที่ประสบความสำเร็จในการสอบเข้า รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับโอกาสในการทำงานและแนวโน้มของอาชีพในอนาคต ทำให้บทความนี้เป็นแหล่งข้อมูลที่มีค่าสำหรับผู้ที่สนใจเข้าสู่โลกของวิศวกรรมโยธาอย่างแท้จริง

จบวิศวะโยธา ต้องสร้างตึกจริงไหม ? >> ไม่จริงซะทีเดียว แน่นอนว่าวิศวะโยธะ อาจเป็นส่วนใหญ่ที่ต้องเข้าไปเกี่ยวกับสายงานนี้ แต่จริง ๆ แล้ว สาขาวิศวะโยธา สามารถทำงานได้อย่างหลายหลาย วันนี้พี่ออนจะพาน้อง ๆ มาทำความรู้จักเกี่ยวกับสาขาวิศวะ โยธากัน

วิศวะ โยธาคืออะไร ?

สาขาวิศวะกรรมโยธา (Civil Engineering) คือศาสตร์หนึ่งทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่จะได้เรียนรู้ทักษะการออกแบบ การก่อสร้าง รวมถึงการบำรุงรักษา สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็นตึก อาคาร สะพาน ถนน ระบบขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ตลอดจนการทำรังวัดในงานสำรวจและแผนที่ อีกทั้งสาขาวิศวกรรมโยธายังต้องศึกษาการวิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์ อีกทั้งยังต้องเรียนรู้การบริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างให้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสูงสุดอีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันเอง สาขาวิศวกรรมโยธาก็มีสาขาเฉพาะด้านแยกย่อยอีก

วิศวะ โยธา มีสาขาเฉพาะอะไรบ้าง

1. วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering)

ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณสิ่งก่อสร้างชนิดต่างๆ โดยเน้นไปทางงานออกแบบ วิเคราะห์ รวมถึงการคำนวณโครงสร้างและแรงต้านทานของวัสดุ

2. วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ (Construction Engineering and Management)

 ศึกษาเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารเป็นหลัก โดยเน้นไปที่ระบบการสร้างอาคาร ตั้งแต่การวางแผน ประเมินราคาค่าก่อสร้าง และในบางมหาวิทยาลัยจะมีการสอนเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร เพื่อการจัดการที่ดีในสิ่งปลูกสร้าง

3. วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering)

ศึกษาการวางผังจราจร เรียนรู้ประโยชน์และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบถนน นอกจากนี้ ยังศึกษาไปถึงวัสดุและกรรมวิธีในการสร้างและปรับปรุงถนนที่เหมาะสม

4. วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical engineering)

ศึกษาคุณสมบัติและวิศวกรรมของดิน เพื่อนำมาวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธา ที่เป็นรากฐานสำคัญของวิศวะกรรมโยธา

5. วิศวกรรมธรณี (Geological engineering)

ศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมของหิน และธรณีวิทยาประยุกต์ เพื่อออกแบบและแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธาและเหมืองแร่ 

6. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)

ฝึกฝนค้นคว้าด้านการจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในน้ำและในอากาศ เรียนรู้หลักในการปรับปรุงคุณภาพและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การก่อสร้างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด 

7. วิศวกรรมชลประทาน (Irrigation Engineering)

 ศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านแหล่งน้ำ ระบบการระบายน้ำ และปริมาณน้ำฝนรวมทั้งการก่อสร้างคูคลอง และแม่น้ำ เป็นอีกสาขาสำคัญมากเลยทีเดียว

8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)

ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทำรังวัดและงานทางด้านสำรวจ เรียนรู้การทำงานทางด้านแผนที่ รวมถึงการศึกษาทางด้านจีพีเอส (GPS) และภูมิสารสนเทศ (GIS) 

เรียนจบ วิศวะโยธา ทำงานอะไรได้บ้าง ?

ในปัจจุบันน้อง ๆ ที่เรียนจบคณะวิศวกรรมศาสตร์จะในสถาบันที่สภาวิศวกรรับรองจะได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรและสามารถทำอาชีพวิศวกรได้ แต่ในหลายบริษัท จะมีตำแหน่งที่แตกต่างกันไป เช่น

  • ▪️  วิศวกรออกแบบโครงสร้าง 
  • ▪️  วิศวกรประมาณราคาสถาปัตย์
  • ▪️  วิศวกรสนามในบริษัทรับเหมาก่อสร้าง
  • ▪️  วิศวกรที่ปรึกษา
  • ▪️  วิศวกรควบคุมงานก่อสร้าง
  • ▪️  วิศวกรสำรวจวิศวกรแหล่งน้ำ
  • ▪️  วิศวกรขนส่ง
  • ▪️  วิศวกรปฐพี

เป็นต้น

น้อง ๆ สามารถเช็คสถาบันที่สภาวิศวกรรับรอง ทางออนไลน์ ได้ทางปุ่มด้านล่าง

อยากเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา ต้องเตรียมตัวสอบอะไรบ้าง ?

หลัก ๆ น้องที่ต้องการจะเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องสอบวิชา TPAT3 (ความถนัดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์) ซึ่งส่วนใหญ่ใช้สัดส่วนมากถึง 30% และวิชาอื่น ๆ สามารถยึดได้ตามเกณฑ์ของแต่ละสาขาที่ต่างกันออกไป วันนี้พี่ออนเอาตัวอย่างสัดส่วนที่สำคัญในการสอบเข้าวิศวะ โยธา จุฬาฯ (อ้างอิงเกณฑ์ปี 67) มาให้น้องดูกัน

น้องๆจะเห็นว่าคะแนน TPAT3 สูงมากถึง 30% เเต่เเค่เรียน TPAT3 ยังไม่พอ ไม่เชื่อลองมาฟัง น้องโอ๊ต ที่ 1 #TPAT3

เริ่มเตรียมตัวตอนนี้ทันไหม 

พี่ออนดี้อยากจะบอกน้องๆ ว่า ไม่ต้องกังวลเรื่องเวลาในการเตรียมตัวเลย เพราะออนดีมานด์เพิ่งออกฟีเจอร์ใหม่ล่าสุด My Path ที่ช่วยให้น้องๆที่เตรียมตัวช้าสามารถเรียนพื้นฐานฟิสิกส์ได้ทันเพื่อเป็นพื้นฐานในการต่อยอด TPAT3 ซึ่งมีน้ำหนักถึง 30% เลยที่เดียว

น้อง ๆ ที่อยากเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ไม่ว่าจะ DEK68 DEK69 สามารถเตรียมตัวกันได้ตั้งแต่วันนี้ ทั้งออนไลน์ และสาขาทั่วประเทศ

บทความอื่นๆ เพิ่มเติม 👉 : OnDemand

บทความอื่นๆ

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

วัน
ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
00
วัน
00
ชั่วโมง

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ