สรุปเนื้อหา การเคลื่อนที่วิถีโค้ง ม.4

รายละเอียดคอร์ส ฟิสิกส์ ม. ปลาย เนื้อหา การเคลื่อนที่วิถีโค้ง สอนโดย พี่เฟรนด์ ออนดีมานด์ – เนื้อหาเข้มข้น ครบทุกรายละเอียด – เพิ่มโจทย์เพื่อให้น้องมั่นใจในการสอบ – เทคนิค Supermap เข้าใจง่าย ไม่ต้องจำ

00.00 Overview : หลักการการเคลื่อนที่วิถีโค้ง
22.04 จุดสังเกต แนวข้อสอบที่ออกบ่อย
25.40 ตัวอย่างข้อสอบ ข้อแรก
29.07 ตัวอย่างข้อสอบ ข้อสอง
31.27 ตัวอย่างข้อสอบ ข้อสาม

การเคลื่อนที่โพรเจกไทล์

คือ การที่วัตถุเคลื่อนที่อิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง หรือ ภายใต้แรงอนุรักษ์ใดๆ(หลังจากนี้จะกล่าวถึงเพียงแรงโน้มถ่วงเพื่อความกระชับของข้อความ) โดยที่เมื่อแตกองค์ประกอบของความเร็วพบว่าจะมี 2 ทิศทาง นั้นคือทิศที่ตั้งฉากกับแรงโน้มถ่วง กับ ทิศที่ขนานตามแนวแรงโน้มถ่วง
การเคลื่อนที่แนวโค้ง
หากผู้สังเกต อยู่ในมุมมองด้านข้างจะเห็นแนวการเคลื่อนที่เป็นโค้งพาราโบล่าดังรูปที่ 7.1
 
สูตรและการคำนวณ
โพรเจกไทล์ (Projectile) รากศัพท์มาจากคำว่า Project ที่แปลว่าเงา เนื่องจากวัตถุมีการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ ซึ่งมีทั้งที่ตั้งฉากและขนานกับแรงโน้มถ่วง ทำให้คำนวณได้ยาก เราจึงทำการฉายเงาในทิศตั้งฉากและขนานกับแนวแรงโน้มถ่วง
เราจะพบว่าในแนวตั้งฉากกับแรงโน้มถ่วงหรือแนวราบนั้น จะไม่มีแรงภายนอกมากกระทำ
\Sigma F = 0 \ \mathrm{N}
นั้นคือ ความเร่งมีค่าเป็นศูนย์
ดังนั้น วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
เมื่อทำการแตกองค์ประกอบของความเร็วต้นเข้าในแนวราบแล้วนั้นจะได้ว่า
u_{x} = u \cos \theta
เมื่อกำหนดให้
u คือ ความเร็วต้นของวัตถุ
u_{x} คือ องค์ประกอบของความเร็วต้นในแนวราบ
\theta คือ มุมที่ความเร็วต้นทำกับแนวราบ
 
การกระจัดของวัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวราบนั้นจะเป็นไปตามสมการ

\begin{aligned} S_{x(t)} &= u_{x(t)} \\ S_{x(t)} &= u \cos \theta t \end{aligned}

เมื่อกำหนดให้
t คือ เวลานับจากวัตถุเริ่มเคลื่อนที่
S_{x(t)} คือการกระจัดในแนวราบที่เวลา t ใดๆ
 
และเราจะพบว่าในแนวขนานกับแรงโน้มถ่วงหรือในแนวดิ่งนั้น วัตถุจะเคลื่อนที่อิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง
\begin{aligned} \Sigma F &= ma \\ mg &=ma \\ a&=g \end{aligned}
นั้นคือ วัตถุจะเคลื่อนที่ภายใต้ความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วง
เมื่อทำการแตกองค์ประกอบของความเร็วต้นเข้าในแนวดิ่งแล้วนั้นจะได้ว่า
u_{y} = u\sin \theta
เมื่อกำหนดให้
u_{y}
คือองค์ประกอบของความเร็วต้นในแนวดิ่ง
การกระจัดของวัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวดิ่งนั้นจะเป็นไปตามสมการ
\begin{aligned} S_{y(t)} &= u_{yt}-\dfrac{1}{2}gt^{2} \\ S_{y(t)} &= u \sin \theta t  –  \dfrac{1}{2}gt^{2} \end{aligned}
เมื่อกำหนดให้
S_{y(t)} คือการกระจัดในแนวดิ่งที่เวลา t ใดๆ
และองค์ประกอบความเร็วในแนวดิ่งที่วินาทีใดๆ จะเป็นไปตามสมการ
v_{y(t)} = u_{y} – gt
เมื่อกำหนดให้
v_{y(t)} คือ องค์ประกอบความเร็วในแนวดิ่งที่เวลา t ใดๆ
ข้อสังเกตุ
ในการคำนวณทั้งสองแนว จะอยู่ภายใต้เวลา t เดียวกันเพราะเกิดจาก เงาของวัตถุเดียวกันนั้นเอง
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

00
วัน
00
ชั่วโมง

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที
เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !

ดันคะแนน 90 วันสุดท้าย

สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ