สรุปเนื้อหา เคมีอินทรีย์ ม.6 ไอโซเมอร์ คืออะไร?

💡 เคมีอินทรีย์ เคมี ม.ปลาย ม.6 เทอม 1

🕑 00:0007:18 แนะนำคอร์ส
🕑 07:1813:19 ไอโซเมอร์
🕑 13:1922:50 หลักการเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์แบบรวดเร็ว
🕑 22:5033:17 ฝึกทำโจทย์ Quick quiz
🎁 สำหรับลูกค้าใหม่ เรียนกับออนดีมานด์ ได้มากกว่า
🔖 มากกว่าด้วย Welcome Pack รับส่วนลดทันที 300 บาท เพียงกรอกโค้ด : NEW300

🖋️ คอร์ส 3213 เคมีอินทรีย์
✨ โปรโมชั่นสุดพิเศษนี้ มีถึงวันที่ 31 พฤษภาคมนี้เท่านั้น
🧪 สรุปเรื่อง ไอโซเมอร์
🧪 สอนโดย พี่เคน ออนดีมานด์
🧪 เคน อรรถเวชกุล
🏆 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้าและพลังงาน จาก Virginia Tech สหรัฐอเมริกา
🏆 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ1 เหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🏆 ผู้แทนการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ในระดับ สอวน. และสสวท.
🌡️ เทคนิค “K-tips” เคมีแบบใหม่ ย่อยง่าย ประยุกต์ใช้ได้จริง
🌡️ เข้าใจพื้นฐานแน่น เพื่อทำโจทย์ได้ทุกแนว ทุกสนามสอบ

#เคมีอินทรีย์คือ #เคมีอินทรีย์เนื้อหา #เคมีอินทรีย์สรุป #เคมีอินทรีย์ข้อสอบ #เคมีอินทรีย์Quizizz

เคมีอินทรีย์ by OnDemand

ไอโซเมอร์ (Isomers)
ไอโซเมอร์ (Isomers) คือ สารคนละชนิดที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน
ไอโซเมอริซึม (Isomerism) คือ ปรากฏการณ์ที่สารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน
แต่มีสูตรโครงสร้างที่ต่างกัน ทำให้มีสมบัติต่างๆ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลวแตกต่างกัน
สําหรับไอโซเมอร์ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีการจัดเรียงตัวของอะตอมในตําแหน่งที่ต่างกัน
หรือมีสูตรต่างกัน จะเรียกว่าไอโซเมอร์โครงสร้าง 
 
หลักการเขียนไอโซเมอร์
สารอินทรีย์ที่มีคาร์บอนอะตอมประมาณ 3-4 อะตอมขึ้นไป สามารถเกิดไอโซเมอร์ที่มีโครงสร้าง
แบบต่างๆ กัน ถ้าคาร์บอนอะตอมมากขึ้นก็จะมีจำนวนไอโซเมอร์เพิ่มขึ้น แต่จะมีจำนวนเท่าไรไม่มีสูตรที่จะใช้ในการคำนวณที่แน่นอน และการที่จะทราบจำนวนไอโซเมอร์ของสารอินทรีย์ได้จะต้องเขียนและพิจารณาเองโดยมีหลักการเขียน ดังนี้ 
  1. พิจารณาจากสูตรโมเลกุลก่อนว่าเป็นสารประเภทใด 
  2. เมื่อทราบว่าเป็นสารประเภทใดแล้วจึงนำมาเขียนไอโซเมอร์ 
  3. ถ้าเป็นสารพวกโซ่เปิด (Open chain หรือ Acyclic) มักจะเริ่มเขียนไอโซเมอร์จากตัวที่มี C ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุดก่อน หลังจากนั้นจึงลดความยาวของ C สายตรงลงครั้งละอะตอม 
  4. ในกรณีที่เป็นไฮโดรคาร์บอนแบบวง (Cyclic chain) มักจะเริ่มจากวงที่เล็กก่อน คือ เริ่มจาก C 
3 อะตอม แล้วจึงเพิ่มเป็น 4 อะตอม ตามลําดับ
 
การเปลี่ยนโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน หรือการเกิดไอโซเมอร์จาก
โซ่ตรงเป็นโซ่กิง จากโซ่เปิดเป็นแบบวง และการเปลี่ยนตําแหน่งของพันธะคู่หรือพันธะสามระหว่างอะตอมของคาร์บอน ทําให้เกิดโครงสร้างใหม่ซึ่งต่างก็เป็นไอโซเมอร์กัน ดังนั้นการเกิดไอโซเมอร์จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่
ทําให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจํานวนมาก 

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที
00
วัน
00
ชั่วโมง

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ