อยากเป็นหมอ เรียนแพทย์ 6 ปี ต้องเจออะไร + วิธีเตรียมตัวตั้งแต่ตอนนี้!
สำหรับน้องๆ ที่ตัดสินใจ “อยากเป็นหมอ” หรือแพทย์ ต่างรู้ดีว่ามันเป็นเส้นทางที่ต้องพยายามอย่างหนักตั้งแต่จุดเริ่มต้นเพื่อเข้ามหา’ลัย และเมื่อได้เข้าคณะแพทยศาสตร์แล้ว ก็ยังมีบทเรียนอีกมากมายที่น้องต้องเจอตลอด 6 ปี สำหรับน้องๆ ที่พึ่งตั้งเป้า อาจจะส่งสัยว่า ทำไมคณะแพทย์ศาสตร์ต้องเรียนถึง 6 ปี ใช้เวลายาวนานกว่าคนอื่น และใน 6 ปีนั้นต้องเรียนอะไรบ้าง? วันนี้พี่ได้สรุปมาให้น้องแล้ว อยากเป็นหมอ 6 ปี เรียนอะไรกันบ้าง เรียนปี 1 ปรับพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย จะเน้นวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ (ที่ใช้ในการแพทย์) เป็นหลัก ซึ่งคือการเรียนปรับพื้นฐานโดยใช้ความรู้จาก ม.ปลายเป็นส่วนใหญ่ เรียนปี 2 ก้าวสู่การเป็นแพทย์ เรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์ของแพทย์เพิ่มขึ้น โดยเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างร่างกายและระบบการทำงานของร่างกายอย่างละเอียด เช่น ระบบประสาท ระบบเลือด ฯลฯ นอกจากนี้ยังเรียน วิชาทางกายวิภาค สรีรวิทยา พันธุศาสตร์ เป็นต้น และยังได้พบกับอาจารย์ใหญ่และคำปฏิญาณด้วย เรียนปี 3 […]
แกทเชื่อมโยง! คณะไหน ใช้คะแนน GAT บ้าง
GAT แกมเชื่อมโยง คือการสอบความถนัดทั่วไป GAT ซึ่งย่อมาจากคำว่า (General Aptitude Test) หรือการทดสอบความถนัดทั่วไป และ PAT คือการสอบความถนัดด้านวิชาการ (Professional A Aptitude Test) คือ การสอบวัดศักยภาพของนักเรียนที่จะเรียนต่อในมหาวิทยาลัย ดังนั้นจึงถือว่า คะแนน GAT เป็นคะแนนสำคัญ ที่หากนักเรียนทำได้ดีก็มีสิทธิที่จะใช้คะแนน GAT เข้าศึกษาต่อในคณะที่ต้องการได้ ดังนั้นจึงถือว่า คะแนน GAT เป็นคะแนนสำคัญ ที่หากนักเรียนทำได้ดีก็มีสิทธิที่จะใช้คะแนน GAT เข้าศึกษาต่อในคณะที่ต้องการได้ รวมคณะไหนใช้คะแนน GATเชื่อมโยงบ้าง กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ : ใช้คะแนน GAT, PAT1 และ PAT2 คณะทันตแพทยศาสตร์, คณะสัตวแพทยศาสตร์, คณะเทคนิคการแพทย์, คณะพยาบาลศาสตร์, คณะเภสัชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา และคณะจิตวิทยา เป็นต้น หมายเหตุ คณะแพทยศาสตร์จะมีเกณฑ์คะแนนที่ใช้ในการสมัครสอบตามที่ กสพท. เป็นผู้กำหนด กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ : […]
แนะเทคนิค ดูแลใจเด็กๆ ช่วงวิกฤต โควิด-19
ถือเป็นสถานการณ์วิกฤต ที่ทำเอาทั่วโลกต้องระมัดระวังและปรับเปลี่ยนวิถีการใช้ชีวิต สำหรับโรคระบาดโควิด-19 ด้านการศึกษาก็ต้องหันมาใช้รูปแบบการเรียนออนไลน์เป็นหลัก ซึ่งอาจจะมีผลกระทบที่ตามมาทั้งต่อตัวเด็กและผู้ปกครองที่อาจจะต้องมีเวลาดูและลูกน้อย บุตรเพิ่มเติม บทความนี้ขอแนะนำเทคนิค ใช้ดูแลใจเด็กๆ ช่วงวิกฤต โควิด-19 สังเกตและรับฟัง สังเกตเด็กๆ ว่ามีอาการหงุดหงิด งอแง กลัว เศร้าหรือไม่? เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกผ่านการเล่น การวาดภาพ เพื่อช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย ทำกิจกรรมร่วมกัน ควรให้เด็กๆ ได้ทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ เช่น เล่นของเล่น เล่นกีฬา ดูหนัง ร้องเพลง ทำอาหารทำความสะอาดบ้าน หรือกิจกรรมอื่นร่วมกับพ่อแม่/ผู้ดูแล ดูแลอย่างใกล้ชิด พ่อแม่/ผู้ดูแลควรดูแลอย่างใกล้ชิด ถ้ากักตัวควรติดต่อเด็กอย่างสม่ำเสมอผ่านโทรศัพท์ วิดีโอคอลหรือโซเชียลเดีย จัดการอารมณ์ตนเอง พ่อแม่/ผู้ดูแลต้องมีวิธีจัดการอารมณ์ตนเองที่เหมาะสม รวมทั้งพูดกับเด็กๆ อย่างจริงใจเหมาะสมกับวัย เพราะเด็กจะเรียนรู้อารมณ์และพฤติกรรมของผู้ใหญ่ โดยในช่วงสถานการณ์โควิด-19 คุณพ่อคุณแม่ควรพูดคุยกับลูกน้อยถึงสถานการณ์ดังกล่าว ถามถึงข่าวต่างๆ หรือสิ่งที่ลูกน้อยได้ยินมา เพื่อเป็นการอัพเดทชี้แจงพูดคุย ใช้การสื่อสารด้วยภาษาที่เหมาะสมกับวัย โดยเด็กในแต่ละวัยมักมีการเข้าใจภาษาที่ต่างกัน ซึ่งอาจใช้ภาพการ์ตูนประกอบ ชวนลูกป้องกันตัวเอง หมั่นให้ลูกน้อยล้างมือบ่อยๆ สอนวิธีสวมใส่หน้ากากอนามัยให้ชิน ฉีดสเปย์และไม่เอามือมาจับหน้า ปรับพฤติกรรมของเสี่ยงของเด็ก เช่นการสัมผัสนิ้วมือ กรีขยี้จมูก ขยี้ตา เพื่อลดการรับเชื้อ […]