สรุปเนื้อหา สถิติ ม.3

สถิติ ม.3 | ตัวอย่างคอร์สเรียน เลข ม.ต้น | OnDemand

รายละเอียดคอร์ส สถิติ คณิตศาสตร์ ม.ต้น เนื้อหา สอนโดย พี่ป่าน เอเลเวล กระชับเข้าใจง่าย ด้วยเทคนิค APoint ให้น้องๆเก่งคณิตศาสตร์ อย่างมั่นใจ พร้อมทำโจทย์ได้ทุกรุปแบบ

00:00 Highlight
01:06 ค่ากลางของข้อมูล
12:07 Exercise ข้อ 15
18:18 Exercise ข้อ 16
26:13 Exercise ข้อ 17

การวัดค่ากลางของข้อมูล

ค่ากลางของข้อมูล คือ ตัวแทนที่เป็นค่าที่เหมาะสมของข้อมูลชุดหนึ่ง การวัดค่ากลางของ
ข้อมูลที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี3 วิธีคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัธยฐาน และฐานนิยม โดยแต่ละ
วิธีจะมีลักษณะของข้อมูล 2 ลักษณะ คือ ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่และข้อมูลที่แจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)

 เป็นการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางที่นิยมใช้มากที่สุด คํานวณได้โดยหาผลบวกของข้อมูลชุดนั้นทุกตัวแล้วหารด้วยจํานวนข้อมูลทั้งหมด ใช้สัญลักษณ์ แทนด้วย \bar{x} (อ่านว่า เอ็กซ์- บาร์)

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ไม่แจกแจงความถี่

\bar{x}=\frac{\text { ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด }}{\text { จำนวนของข้อมูลทั้งหมด }}=\frac{\sum_{i=1}^N x_i}{N}
 
โดยที่ x_i แทน ข้อมูลแต่ละตัว 
และ  N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมด

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่แจกแจงความถี่

\bar{x}=\frac{\sum_{i=1}^k f_i x_i}{\sum_{i=1}^k f_i}=\frac{\sum_{i=1}^k f_i x_i}{N}

โดยที่ x_i คือ จุดกึ่งกลางชั้นที่ i

          f_i คือ ความถี่ของชั้นที่ i

          k คือ จำนวนชั้น

มัธยฐาน (Median)

คือ ข้อมูลที่อยู่ตําแหน่งตรงกลางของข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมาก(หรือมากไปน้อย) เขียนแทน
ด้วย Med หรือ Me
มัธยฐานที่ไม่แจกแจงความถี่
(1) เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก (หรืออาจเรียงจากมากไปหาน้อยก็ได้)
(2) ถ้ามีข้อมูลทั้งหมด N จำนวน แล้ว ค่ามัธยฐานจะอยู่ที่ตำแหน่ง \frac{N+1}{2}
(3) ถ้าตำแหน่งของมัธยฐานไม่เป็นจำนวนเต็ม แล้วค่ามัธยฐานจะเท่ากับผลบวกระหว่าง ตำแหน่งที่ได้ในข้อ (2) แล้วหารด้วย 2

ฐานนิยม (Mode)

คือค่าของข้อมูลที่มีความถี่สูงที่สุด (ซํ้ามากสุด) เขียนแทนด้วย Mo หรือ Mod
 
ฐานนิยมกรณีข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
– ฐานนิยมมี 1 ค่า : ข้อมูลตัวที่มีความถี่มากสุด มีแค่ตัวเดียว
– ฐานนิยมมีมากกว่า 1 ค่า : ข้อมูลตัวที่มีความถี่มากสุด มีหลายตัว เช่น ข้อมูล คือ a, a, b, c,   </span></h5><h5><span style="font-weight: 400;">   c, c, d, d, d, e, f, f ฐานนิยม คือ c และ d
– ไม่มีฐานนิยม : ข้อมูลแต่ละตัวมีความถี่เท่ากันหมด เช่น ข้อมูล คือ x, x, x, y, y, y, z, z, z
              ไม่มีฐานนิยม เพราะข้อมูลทุกค่ามีความถี่เท่ากับ 3 ทั้งหมด
 
ฐานนิยมกรณีข้อมูลที่แจกแจงความถี่
สามารถหาค่าของฐานนิยมได้จากค่าประมาณของจุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด


เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

วัน
ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
00
วัน
00
ชั่วโมง

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ