สรุปเนื้อหา แคลคูลัส ม.6 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน คืออะไร?

💡 ตัวอย่างสรุปเนื้อหาเรื่อง แคลคูลัส เลข ม.ปลาย ม.6 เทอม 1

🕑 00:0029:24 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
🕑 29:2446:16 การหาค่าอนุพันธ์โดยใช้สูตร
🕑 46:1653:30 ฝึกทำโจทย์
🎁 สำหรับลูกค้าใหม่ เรียนกับออนดีมานด์ ได้มากกว่า
🔖 มากกว่าด้วย Welcome Pack รับส่วนลดทันที 300 บาท เพียงกรอกโค้ด : NEW300

🖋️ คอร์ส 8215 แคลคูลัส ม.ปลาย
✨ โปรโมชั่นสุดพิเศษนี้ มีถึงวันที่ 31 พฤษภาคมนี้เท่านั้น
📊 สรุปเรื่องแคลคูลัสพื้นฐาน
📈 สอนโดย พี่แท็ป ออนดีมานด์
📈 ภาคภูมิ อร่ามวารีกุล
🏆 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ คะแนนสูงสุด อันดับ 1
🏆 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ(MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
🏆 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ1 เหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🅰️ เทคนิค “A-Point” ช่วยจัดลำดับความคิดได้ ทำให้น้องจำได้นานขึ้น
🅰️ เข้าใจพื้นฐานแน่น เพื่อทำโจทย์ได้ทุกแนว ทุกสนามสอบ

#แคลคูลัสคือ #แคลคูลัสสรุป #แคลคูลัส1 #แคลคูลัสพื้นฐาน #แคลคูลัสม6 #แคลคูลัสโจทย์

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

1. อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ yy เทียบกับ xx จาก xx ถึง x+hx+h
คือ ΔyΔx=f(x+h)f(x)x+hx=f(x+h)f(x)h\dfrac{\Delta y}{\Delta x}=\dfrac{f(x+h)-f(x)}{x+h-x}=\dfrac{f(x+h)-f(x)}{h}
2. อัตราการเปลี่ยนแปลงของ yy เทียบกับ xx ขณะxx มีค่าใดๆ
คือ limh0f(x+h)f(x)h\lim{h\to 0} \dfrac{f(x+h)-f(x)}{h} (ช่วงที่ xx เปลี่ยนแปลงน้อยมากๆ๗
 
เราจะเรียกค่า limh0f(x+h)f(x)h\lim{h\to 0} \dfrac{f(x+h)-f(x)}{h} ว่า “อนุพันธ์ของฟังก์ชัน ff
และใช้สัญลักษณ์ f(x),y,dydx,dfdxf^{\prime}(x), y^{\prime}, \dfrac{d y}{d x}, \dfrac{d f}{d x} แทนอนุพันธ์ของฟังก์ชัน ff หรือ f(x)=limh0f(x+h)f(x)hf^{\prime}(x) = \lim{h\to 0} \dfrac{f(x+h)-f(x)}{h}
NOTE
  1. f(a)=limxaf(x)f(a)xaf^{\prime}(a) = \lim{x\to a} \dfrac{f(x)-f(a)}{x-a}
  2. ถ้าฟังก์ชัน ff มีอนุพันธ์ที่ x=ax=a จะได้ว่า ff ต่อเนื่องที่ x=ax=a
  3. ถ้าฟังก์ชัน ff ไม่ต่อเนื่องที่ x=ax=a จะได้ว่า ff ไม่มีอนุพันธ์ที่ x=ax=a
3. การหาอนุพันธ์โดยใช้สูตร (เมื่อ kk เป็นค่าคงตัว)
ddxk=0\dfrac{d}{d x} k=0
ddxkxn=kddxxn\dfrac{d}{d x} k x^n=k \dfrac{d}{d x} x^n
ddxxn=nxn1\dfrac{d}{d x} x^n=n x^{n-1}
ddx(u±v)=u±v\dfrac{d}{d x}(u \pm v)=u^{\prime} \pm v^{\prime}
ddx(uv)=uv+vu\dfrac{d}{d x}(u v)=u v^{\prime}+v u^{\prime}
ddx(uv)=vuuvv2\dfrac{d}{d x}\left(\dfrac{u}{v}\right)=\dfrac{v u^{\prime}-u v^{\prime}}{v^2}
ddxun=nun1dudx\dfrac{d}{d x} u^n=n u^{n-1} \frac{d u}{d x}

4. อนุพันธ์อันดับสูง
อนุพันธ์อันดับสูง คือ การหาอนุพันธ์มากกว่า 1 ครั้ง
f(x)f^{\prime}(x) คือ อนุพันธ์ของ ff
f(x)f^{\prime \prime}(x) คือ อนุพันธ์ของ f(x)f^{\prime}(x) หรือ อนุพันธ์อันดับสองของ ff
f(x)f^{\prime \prime \prime}(x) คือ อนุพันธ์ของ f(x)f^{\prime \prime}(x) หรือ อนุพันธ์อันดับสามของ ff
f(4)(x)f^{(4)}(x) คือ อนุพันธ์ของ f(x)f^{\prime \prime \prime}(x) หรือ อนุพันธ์อันดับสี่ของ ff

5. กฎลูกโซ่
กำหนดให้ y=f(u)y=f(u) และ u=g(x)u=g(x)
เช่น กำหนดให้ y=u2+3u1y=u^2+3 u-1 และ u=2x+1u=2 x+1
ถ้าเราต้องการหาอนุพันธ์ของ yy เทียบกับ xx (หรือ dydx\dfrac{d y}{d x} ) จะทำได้ 2 วิธี
วิธีที่ 1. แทน u=2x+1u=2 x+1 ลงใน yy จะได้ y=(2x+1)2+3(2x+1)1y=(2 x+1)^2+3(2 x+1)-1 แล้วหา yy^{\prime} 
วิธีที่ 2. ใช้กฎลูกโซ่ \dracdydx=dydududx\drac{d y}{d x}=\dfrac{d y}{d u} \cdot \dfrac{d u}{d x}