สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็น ม.5 พร้อมเนื้อหาครบ แจกฟรีโจทย์ออกสอบบ่อย พร้อมตัวอย่างวิธีทำ

ความน่าจะเป็น

หลาย ๆ คน น่าจะเคยได้ยินเกี่ยวกับความน่าจะเป็นกันมาแล้ว ซึ่งจริงๆแล้วความน่าจะเป็น น้อง ๆ ได้เรียนกันมาตั้งแต่ม.ต้น ซึ่งจะเน้นไปที่พื้นฐานและการประยุกต์ใช้หลักการนับพื้นฐาน เช่น การคำนวณหาโอกาสจากเหตุการณ์ง่าย ๆ  การทอยลูกเต๋า การสุ่มหยิบการ์ด แต่วันนี้พี่ออนจะพาน้องๆ มาทำความรู้จักความน่าจะเป็นสำหรับน้องม.ปลายกันจะมีอะไรบ้างมาดูกันเลย

✨หลักการนับเบื้องต้น

ก่อนที่เราจะหาความน่าจะเป็น พี่ๆขอพาน้องมารู้จักหลักการนับ กันก่อน เพราะการคำนวนความน่าจะเป็นจะมีหลักการที่ต่างกันออกไป ไม่สามารถทำแบบมั่วๆ ได้ หลักการนับจะช่วยทำให้หาจำนวนวิธีได้รวดเร็วขึ้น

  1. หลักการบวก ใช้เมื่อเราต้องการนับจำนวนความเป็นไปได้ของหลายเหตุการณ์ที่ไม่เกิดพร้อมกัน แยกงานที่เสร็จออกแล้วเป็น k กรณีย่อย และ n1, n2, n3, …, nk เป็นจำนวนวิธีของแต่ละกรณีที่เกิดขึ้น
    จำนวนวิธีทำงาน = n_1 n_2 n_3 \dots, n_k   วิธี
    ตัวอย่าง มีตุ๊กตาหมี 3 สี สีละ 1 ตัว และมีตุ๊กตา 5 สี สีละ 1 ตัว หากต้องการหยิบตุ๊กตา 1 ตัวมาห้อยกระเป๋าไปโรงเรียนสามารถทำได้กี่วิธีกรณีที่ 1 ถ้าหยิบตุ๊กตาหมี จะทำได้ 3 วิธี เพราะมีตุ๊กตาหมีรวม 3 ตัว
    กรณีที่ 2 ถ้าหยิบตุ๊กแมว จะทำได้ 5 วิธี เพราะมีตุ๊กตาแมวรวม 5 ตัวดังนั้น หากต้องการหยิบตุ๊กตา 1 ตัว จะสามารถทำได้ทั้งหมด 3+5=8 วิธี
  2. หลักการคูณ (Multiplication Principle) ใช้เมื่อเราต้องการนับจำนวนความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน หรืองานที่ต้องทำประกอบไปด้วย k ขั้นตอนย่อย
    จำนวนวิธีการทำงาน = n_1 n_2 n_3 \dots, n_k  วิธี
    ตัวอย่าง ร้านขายไอศครีมแห่งหนึ่ง มีไอศครีมอยู่ 5 รสชาติ และท็อปปิ้ง อยู่ 10 อย่าง โดยในการขายไอศครีม 1 เซต จะใส่ไอศครีมได้ 1 รสชาติและท็อปปิ้ง 1 อย่าง จงหาว่าไอศครีม 1 เซตจะมีรูปแบบการขายได้ทั้งหมดกี่แบบเนื่องจากไอศครีม 1 เซต จะประกอบไปด้วย ไอศครีมที่มี 5 รสชาติ และ ท็อปปิ้ง ที่มีอยู่ 10 อย่าง
    ดังนั้น จำนวนรูปแบบของไอศครีม 1 เซตจะเท่ากับ 510= 50 รูปแบบ

✨การเรียงสับเปลี่ยน

การเรียงสับเปลี่ยนใช้เมื่อต้องจัดเรียงสิ่งของในลำดับที่แตกต่างกัน โดยคำนวณจากจำนวนวิธีการเรียงสิ่งของที่ไม่ซ้ำกันเพื่อจัดลำดับ

✨การสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกัน

การสับเปลี่ยนทั้งหมดของสิ่งของที่แตกต่างกัน n ชิ้น

จำนวนวิธีในการเรียง n

ตัวอย่าง การเรียงลำดับของคน 3 คน ได้แก่ A, B, C คือ 3=3×2×1=6 วิธี

การสับเปลี่ยนบางส่วน

การสับเปลี่ยนบางส่วนของสิ่งของ n ชิ้น ที่เลือกมาเรียง r ชิ้น

{}^P_{n,r} = \frac{n!}{(n – r)!}

ตัวอย่าง การเรียงลำดับคน 3 คนจาก 5 คน จะได้  {}^P_{5,3} = \frac{5!}{(5 – 3)!} = 5 \times 4 \times 3 = 60

✨การสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่เหมือนกัน

สิ่งของที่เหมือนกันบางชิ้น การสับเปลี่ยนจะต้องหักล้างความซ้ำซ้อน

P = \frac{n}{k_1 \times k_2 \times \dots \times k_r}

ตัวอย่าง การสับเปลี่ยนคำว่า “DAD” จะได้ \frac{3}{2} = 6 \div 2 = 3

✨การสับเปลี่ยนแบบวงกลม

ใช้สำหรับการเรียงสิ่งของในลักษณะวงกลม

จำนวนวิธีในการเรียง = (n-1)

ตัวอย่าง การจัดลำดับคน 4 คนรอบโต๊ะกลม คือ (4−1)  = 3 = 6

✨การจัดหมู่

การจัดหมู่ใช้เมื่อไม่สนใจลำดับในการเลือกสิ่งของจากจำนวนทั้งหมด

C(n, r) = \frac{n!}{r! \, (n – r)!}

ตัวอย่าง  การเลือกคน 2 คนจากกลุ่ม 5 คน คือ C(5, 2) = \frac{5}{2 \, (5 – 2)} = \frac{5 \times 4}{2 \times 1} = 10

✨ทฤษฎีบททวินาม

คือวิธีการคำนวณความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นหลาย ๆ ครั้ง จากการทดลองซ้ำ ๆ ที่มีโอกาสเกิดผลลัพธ์สองทางเลือก เช่น การโยนเหรียญซึ่งมี “หัว” และ “ก้อย” หรือการทดสอบว่าประสบความสำเร็จหรือไม่ในแต่ละครั้ง

หลักการพื้นฐาน:

  1. ทดลองซ้ำ ๆ: มีการทดลองทั้งหมด nnn ครั้ง ซึ่งผลลัพธ์ในแต่ละครั้งมีแค่ 2 แบบ คือ “เกิดเหตุการณ์” หรือ “ไม่เกิดเหตุการณ์”
  2. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์: ในแต่ละครั้งของการทดลอง ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นคือ ppp และความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์จะไม่เกิดคือ 1−p1-p1−p
  3. ความน่าจะเป็นของจำนวนครั้งที่เหตุการณ์เกิด: เราต้องการหาความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น kkk ครั้งจากทั้งหมด nnn ครั้ง
สูตรแบบง่ายของการแจกแจงทวินาม:

P(X = k) = \binom{n}{k} p^k (1 – p)^{n – k}

✨ตัวอย่างประกอบ

สมมุติว่าเรากำลังโยนเหรียญที่สมดุล (ความน่าจะเป็นออกหัว p=0.5) จำนวน 3 ครั้ง และเราต้องการหาความน่าจะเป็นที่เหรียญจะออกหัว 2 ครั้ง

  1. เรารู้ว่ามีการโยนเหรียญ 3 ครั้ง n=3
  2. เราต้องการให้เหรียญออกหัว 2 ครั้ง k=2
  3. ความน่าจะเป็นที่เหรียญจะออกหัวในการโยนแต่ละครั้งคือ p=0.5

ข้อสอบที่ออกบ่อยในบทเรียนความน่าจะเป็น

  • ✅ การหาความน่าจะเป็นจากเหตุการณ์พื้นฐาน
  • ✅ การหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่มีเงื่อนไขและไม่มีเงื่อนไข
  • ✅ การประยุกต์ใช้กฎการบวกและกฎการคูณ

✨ตัวอย่างโจทย์สำหรับความน่าจะเป็น พร้อมเฉลย 

ตัวอย่างที่ 1

มีถุงใบหนึ่งบรรจุลูกเต๋าสองลูก ลูกหนึ่งเป็นลูกเต๋าธรรมดา (มีหน้า 1-6) และอีกลูกเป็นลูกเต๋าพิเศษที่มีเลข 1 ถึง 4 เท่านั้น ถ้าเลือกหยิบลูกเต๋ามาทอย 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็นที่แต้มที่ออกจะเป็นเลข 3

จากโจทย์สามารถแบ่งเป็น 2 กรณี:

  • กรณีที่ 1: ถ้าเลือกได้ลูกเต๋าธรรมดา ความน่าจะเป็นที่ออกเลข 3 คือ 16
  • กรณีที่ 2: ถ้าเลือกได้ลูกเต๋าพิเศษ ความน่าจะเป็นที่ออกเลข 3 คือ 14​

โดยความน่าจะเป็นที่หยิบลูกเต๋าธรรมดาหรือพิเศษมีค่าเท่ากัน คือ 12​

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ออกเลข 3 คำนวณได้จาก:

P(แต้ม 3)=(12​ × 16​)+( 12​ × 14 ​)= 112 ​+ 118​

ทำการหาค่า 112 ​+ 118​​ โดยหาค่าน้อยสุดร่วมของ 12 และ 8 คือ 24:

112 ​+ 224​, 18 ​+ 324​

ดังนั้น: ความน่าจะเป็นที่ออกเลข 3 คือ P(A)  = 224​ + 324​ = 524​

 

ตัวอย่างที่ 2 

หยิบลูกบอล 2 ลูกพร้อมกัน จากถุงหนึ่งใบที่มีลูกบอลสีชมพู 2 ลูกและสีฟ้า 3 ลูก จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ (ช=ชมพู, ฟ=ฟ้า)

เหตุการณ์ทั้งหมด = 10 เหตุการณ์

  1. หยิบได้ลูกบอล 2 ลูก “เป็นสีเดียวกัน”  P(1) = 410 = 25 
  2. หยิบได้ลูกบอล 2 ลูก “เป็นสีต่างกัน”  P(2)  = 610 = 35 

ดังนั้น: ความน่าจะเป็นที่จะเกิดทั้ง 2 เหตุการณ์ P(A)  : P(1) +  P(2) = 25 + 35 = 2+35 = 1

ตัวอย่างที่ 3

มีนักเรียน 5 คน ประกอบด้วย: ก, ข, ค, ง, จ ถ้าต้องการเลือกนักเรียน 2 คนจากกลุ่มนี้ไปทำงานกลุ่ม โดยการเลือกแบบสุ่ม จงหาความน่าจะเป็นที่นักเรียน ก จะถูกเลือก

วิธีทำ:
ขั้นที่ 1 : คำนวณจำนวนวิธีทั้งหมดในการเลือกนักเรียน 2 คนจาก 5 คน ซึ่งสามารถใช้สูตรการจัดหมู่ 

จำนวนวิธีในการเลือก 2 คนจาก 5 คน = (52) = ( 5 X 42X1 ) = 10

 ขั้นที่ 2 : หาจำนวนวิธีที่นักเรียน ก ถูกเลือก = เราต้องเลือกอีก 1 คนจากนักเรียนที่เหลืออีก 4 คน:

จำนวนวิธีที่เลือกนักเรียน ก = 41= 1

ดังนั้น: ความน่าจะเป็นที่นักเรียน ก จะถูกเลือกคือ P(A) = จำนวนวิธีที่เลือกนักเรียน กจำนวนวิธีทั้งหมด= 410 = 25

เป็นยังไงบ้างครับสำหรับเนื้อหาเรื่องความน่าจะเป็น ที่พี่นำมาฝากในวันนี้ น้อง ๆ หลายคนอาจจะรู้สึกว่ามีเนื้อหาใหม่ ๆ ที่เราไม่เคยเจอมาก่อนอยู่หลายอย่าง แต่ถ้าน้อง ๆ หมั่นทบทวนและขยันทำโจทย์ เนื้อหาเหล่านี้ก็จะไม่ยากอีกต่อไป และช่วยให้เราเข้าใจ ความน่าจะเป็น มากขึ้นอย่างแน่นอน ถ้าน้องๆ คิดว่าแค่อ่านบทความแล้วยังไม่พอ พี่ออนดีมานด์มีคอร์สเรียนแนะนำดีๆ มาบอกต่อ 

บทความอื่นๆ เพิ่มเติม 👉 : OnDemand

คอร์สเรียน เปิดตัวใหม่สำหรับ สายบริหาร

พร้อมแจกฟรี

แผนการเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลาย

บทความอื่นๆ

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที
00
วัน
00
ชั่วโมง

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ